บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2017

ต้นมะเฟือง(Averrhoa carambola L)

รูปภาพ
ข้อมูล รายละเอียด ภาพประกอบ  ชื่อพฤกษ ศาสตร์ Averrhoa carambola L.     วงศ์ Oxalidaceae ชื่อพื้นเมือง มะเฟืองส้ม (สกลนคร) มะเฟืองเปรี้ยว สะบือ เฟือง ลักษณะทางนิเวศวิทยา (การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ)   เป็นไม้ต้นพื้นเมืองของอินโดนีเซีย อินเดีย และศรีลังกา และเป็นที่นิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย และบางส่วนของเอเชียตะวันออก รวมทั้งมีเพาะปลูกในสาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย ในสหรัฐอเมริกามีแหล่งเพาะปลูกเชิงพาณิชย์อยู่ที่ฟลอริดาตอนใต้และฮาวาย ชนิดป่าที่พบ

ต้นกระท้อน(Sandoricum koetjape)

รูปภาพ
ข้อมูล รายละเอียด ภาพประกอบ ชื่อพฤกษศาสตร์ Sandoricum koetjape     วงศ์ Meliaceae ชื่อพื้นเมือง กระท้อน, สะท้อน; มะต้อง หรือ มะตื๋น (ภาคเหนือ) บักต้อง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ภาคใต้เรียกล่อน เตียน สะตูและสะโต ชื่อจังหวัดสตูลมาจากภาษามลายูหมายถึงกระท้อน ลักษณะ นิเวศ วิทยา กระท้อนมีถิ่นกำเนิดในอินโดจีนและมาเลเซียตะวันตก ก่อนจะถูกนำไปปลูกที่ประเทศอินเดีย, เกาะบอร์เนียว, ประเทศอินโดนีเซีย, หมู่เกาะโมลุกกะ, ประเทศมอริเชียส, และประเทศฟิลิปปินส์และกลายเป็นพืชท้องถิ่นไป กระท้อนถูกปลูกเป็นพืชเชิงพานิชย์ตลอดพื้นที่ในเขตนี้ ชนิดป่า  ที่พบ อยู่ในบริเวณเอเชียตะวันออกเฉ

ต้นหว้า(Syzygium cumini)

รูปภาพ
ข้อมูล รายละเอียด ภาพประกอบ         ชื่อพฤกษศาสตร์ Syzygium cumini     วงศ์ Myrtaceae ชื่อพื้นเมือง หว้าขี้แพะ ลักษณะทางนิเวศวิทยา (การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ) ถิ่นกำเนิด เอเชียเขตร้อน อินเดีย พม่า มาเลเซียและไทย ประเทศไทยพบได้ทั่วไป โดยเฉพาะตามพื้นที่ชุ่มน้ำ ดินอุดมสมบูรณ์หรือพื้นที่ใกล้แหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำ ลำธาร หนอง คลอง บึง ชนิดป่าที่พบ ในไทยพบทั่วไปตามป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบ ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 1,100 เมตร เป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจำเพชรบุรี ลักษณะทางวนวัฒ

ต้นยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don)

รูปภาพ
   ข้อมูล                  รายละเอียด ภาพประกอบ       ชื่อ พฤกษศาสตร์ (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G.Don)     วงศ์ Dipterocarpaceae ชื่อพื้นเมือง กาตีล (เขมร ปราจีนบุรี) ขะยาง (ชาวบน นครราชสีมา) จ้อง (กะเหรี่ยง) จะเตียล (เขมร) ชันนา (ชุมพร) ทองหลัก    ลักษณะ       ทาง  นิเวศวิทยา ไม้ยางนาจะพบอยู่ทั่วไป ตั้งแต่ประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ศรีลังกา พม่า ไทย ลาว เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ โดยปกติจะพบไม้ยางนาในป่าดิบแล้ว ในที่ราบลุ่มใกล้ ๆ ลำน้ำ    ชนิดป่า     ที่พบ ชอบขึ้นเป็นกลุ่มตามที่ราบริมลำธาร ในป่าดิบทั่วไป ที่มีดินอุดมสมบูรณ์

ต้นยอบ้าน(Morinda citrifolia L)

รูปภาพ
ข้อมูล รายละเอียด ภาพประกอบ         ชื่อพฤกษศาสตร์ Morinda citrifolia  L     วงศ์ Rubiaceae ชื่อพื้นเมือง ยอบ้าน (ภาคกลาง) มะตาเสือ (ภาคเหนือ) ยอ แยใหญ่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางนิเวศวิทยา (การกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติ) เป็นพืชพื้นเมืองในแถบพอลินีเชียตอนใต้ แล้วแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น ๆ ภาษามลายูเรียกเมอกาดู ในหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก ชนิดป่าที่พบ พบปลูกเลี้ยงอยู่ทั่วไป ลักษณะทางวนวัฒนวิทยา